วันอังคาร, ธันวาคม 22, 2552

เนื้อเพลงที่ต้องการเป็นอังกฤษ


Come Back To Me - Utada Hikaru
The rain falls on my windows
And a coldness runs through my soul
And the rain falls, oh the rain falls
I don’t want to be alone.
I wish that I could photoshop all
Our bad memories
Cause the flashbacks, oh the flashbacks
Won’t leave me alone
If you come back to me
I’ll be all that you need
Baby, come back to me
Let me make up for what happened
* (Come back) Baby come back to me
(Come back) I’ll be everything you need
(Come back) Baby come back to me
(Come back) Boy, you’re one in a million
(Come back) Baby come back to me
(Come back) I’ll be everything you need
(Come back) Baby come back to me
(Come back) You’re one in a million
(One in a million)
Oh, the inside(?) of Manhatten,
She goes shopping for new clothes
And she buys this, and she buys that
Just leave it alone.
I wish that he would listen to her
Side of the story
It isn’t that bad, it isn’t that bad
And she’s wiser for it now.
I admit I cheated (’mit I cheated)
Don’t know why I did it (why I did it)
But I do regret it (do regret it)
Nothing I could do or say can change
ซ้ำ *
Everything I ever did
Heaven knows I’m so afraid(?)
I was too dumb to see
You were always there for me
And my curiosity
Got the better of me
Baby take it easy on me
Anything from A to Z
Tell me what you want it babe
I open my heart to thee
You are my priority
Can’t you see you’ve punished me
More than enough already
Baby take it easy on me
Baby, take it easy on me
Baby come back to me
Baby come back to me
ซ้ำ *,*
La la la la
La la la la la la
La la la la la la
La la la
แปล

ฝน ตก ที่ หน้าต่าง ของ ฉัน
และ ความ เย็น จะ ทำงาน ผ่าน ชีวิต ของ ฉัน
และ ฝน ตก, โอ๋ ฝน ตก
ฉัน ไม่ ต้องการ อยู่ คน เดียว.

ฉัน ต้องการ ที่ ฉัน สามารถ Photoshop ทั้งหมด
ความ ทรง จำ ที่ ดี ของ เรา
ทำให้ flashbacks, flashbacks โว้ย
จะ ไม่ ออก มา ยุ่ง กับ ฉัน

หาก คุณ กลับ มา ให้ ฉัน
ฉัน จะ เป็น สิ่ง ที่ คุณ ต้องการ
ทารก กลับ มา ให้ ฉัน
ให้ ฉัน ทำ ขึ้น สำหรับ สิ่ง ที่ เกิด ขึ้น

* (กลับ มา) ที่ จอด กลับ มา ให้ ฉัน
(กลับ มา) ฉัน จะ เป็น ทุก สิ่ง ที่ คุณ ต้องการ
(กลับ มา) ที่ จอด กลับ มา ให้ ฉัน
(กลับ มา) หนุ่ม ท่าน หนึ่ง ใน ล้าน

(กลับ มา) ที่ จอด กลับ มา ให้ ฉัน
(กลับ มา) ฉัน จะ เป็น ทุก สิ่ง ที่ คุณ ต้องการ
(กลับ มา) ที่ จอด กลับ มา ให้ ฉัน
(กลับ มา) คุณ เป็น หนึ่ง ใน ล้าน
(หนึ่ง ใน ล้าน)

โธ่ ภายใน (?) ของ Manhatten,
เธอ ไป ซื้อ เสื้อผ้า ใหม่
และ นาง ซื้อ นี้ และ เธอ ซื้อ ที่
ไว้ เพียง ลำพัง.

ฉัน ต้องการ ที่ เขา จะ ฟัง เธอ
ด้าน ของ เรื่องราว
ไม่ใช่ ว่า ไม่ ดี จะ ไม่ ว่า ร้าย
และ นาง ของ wiser สำหรับ ตอน นี้.

ฉัน ยอมรับ ฉัน มิตร กับ ดัก ( 'ฉัน กับ ดัก)
ไม่ ทราบ ว่า ทำไม ฉัน ไม่ ได้ (ทำไม ฉัน ไม่ ได้)
แต่ ฉัน จะ เสียใจ มัน (ขออภัย มัน)
ไม่มี อะไร ที่ ฉัน สามารถ ทำ หรือ กล่าว สามารถ เปลี่ยน

ซ้ำ *

ทุก อย่าง ที่ ฉัน เคย ได้
สวรรค์ รู้ ฉัน คิด ว่า ดังนั้น (?)
ฉัน ถูก เกินไป ใบ้ ดู
คุณ เคย มี สำหรับ ฉัน
และ ความ อยาก รู้ ของ ฉัน
มี ดี กว่า ฉัน
ทารก จะ ได้ ง่าย กับ ฉัน

อะไร จาก A ถึง Z
บอก ฉัน ว่า คุณ ต้องการ เด็ก แรก เกิด
ฉัน เปิด หัวใจ ของ ฉัน ให้ แก่ เจ้า
คุณ มี ความ สำคัญ ของ ฉัน
ไม่ สามารถ เห็น คุณ ได้ ลงโทษ ฉัน
เกิน แล้ว
ทารก จะ ได้ ง่าย กับ ฉัน

ทารก ให้ ใช้ ง่าย กับ ฉัน
ทารก กลับ มา ให้ ฉัน
ทารก กลับ มา ให้ ฉัน

ซ้ำ *, *

La la la la
La la la la la la
La la la la la la
La la la


ศัพท์
come มา
everything ทุกสิ่ง
coldness ความเย็นชา
change เปลี่ยน
regret เสียใจ
punished ลงโทษ
heaven สวรรค์
enough เพียงพอ
already แล้ว
million ล้าน
listen ฟัง
rain ฝน
clothes ฝน
priority ลำดับความสำคัญ
better ดีกว่า

วันอังคาร, ธันวาคม 15, 2552

วาเลนไทน์


Valentine's Day or Saint Valentine's Day is a holiday celebrated on February 14 by many people throughout the world. In the English-speaking countries, it is the traditional day on which lovers express their love for each other by sending Valentine's cards, presenting flowers, or offering confectionery. The holiday is named after two among the numerous Early Christian martyrs named Valentine. The day became associated with romantic love in the circle of Geoffrey Chaucer in the High Middle Ages, when the tradition of courtly love flourished.

The day is most closely associated with the mutual exchange of love notes in the form of "valentines". Modern Valentine symbols include the heart-shaped outline, doves, and the figure of the winged Cupid. Since the 19th century, handwritten notes have largely given way to mass-produced greeting cards.[1] The sending of Valentines was a fashion in nineteenth-century Great Britain, and, in 1847, Esther Howland developed a successful business in her Worcester, Massachusetts home with hand-made Valentine cards based on British models. The popularity of Valentine cards in 19th century America, where many Valentine cards are now general greeting cards rather than declarations of love, was a harbinger of the future commercialization of holidays in the United States.[2] It's considered one of the Hallmark holidays.

The U.S. Greeting Card Association estimates that approximately one billion valentines are sent each year worldwide, making the day the second largest card-sending holiday of the year, behind Christmas. The association estimates that, in the US, men spend on average twice as much money as women.[3]

วันวาเลนไทน์นั้นมีมาตั้งแต่สมัยจักรวรรดิโรมัน ในกรุงโรมสมัยก่อนนั้น วันที่ 14 กุมภาพันธ์ จะเป็นวันเฉลิมฉลองของจูโน่ซึ่งเป็นราชินีแห่งเหล่าเทพและเทพธิดาของโรมัน ชาวโรมันรู้จักเธอในนามของเทพธิดาแห่ง อิสตรีและการแต่งงาน และในวันถัดมาคือวันที่ 15 กุมภาพันธ์ ก็จะเป็นวันเริ่มต้นงานเลี้ยงของ Lupercalia การดำเนินชีวิตของเด็กหนุ่มและเด็กสาวในสมัยนั้นจะถูกแยกจากกันอย่างเด็ดขาด แต่อย่างไรก็ตาม ยังมีประเพณี อย่างนึง ซึ่งเด็กหนุ่มสาวยังสืบทอดต่อกันมา คือ คืนก่อนวันเฉลิมฉลอง Lupercalia นั้นชื่อของเด็กสาวทุกคนจะถูกเขียนลงในเศษกระดาษเล็ก ๆ และจะใส่เอาไว้ในเหยือก เด็กหนุ่มแต่ละคนจะดึงชื่อของเด็กสาวออกจากเหยือก แล้วหลังจากนั้นก็จะจับคู่กันในงานเฉลิมฉลอง บางครั้งการจับคู่นี้ ท้ายที่สุดก็จะจบลงด้วยการที่เด็กหนุ่มและเด็กสาวทั้งสองนั้นได้ตกหลุมรักกันและแต่งงานกันในที่สุด

ภายใต้การปกครองของจักรพรรดิคลอดิอุสที่สอง (Claudius II) นั้น กรุงโรมได้เกิดสงครามหลาย ครั้ง และคลอดิอุสเองก็ประสบกับปัญหาในการที่จะหาทหารจำนวนมากมายมหาศาลมาเข้าร่วมในศึกสงคราม และเขาเชื่อว่าเหตุผลสำคัญก็คือ ผู้ชายโรมันหลายคนไม่ต้องการจากครอบครัวและคนอันเป็นที่รักไป และด้วยเหตุผลนี้เอง ทำให้จักรพรรดิคลอดิอุสประกาศให้ยกเลิกงานแต่งงานและงานหมั้นทั้งหมดในกรุงโรม ถึงกระนั้นก็ตาม ยังมีนักบุญผู้ใจดีคนหนึ่งซึ่งชื่อว่า ท่านนักบุญวาเลนไทน์ ท่านเป็นพระที่กรุงโรมในสมัยของจักรพรรดิคลอดิอุสที่สอง ท่านนักบุญวาเลนไทน์และนักบุญมาริอุส ได้จัดตั้งกลุ่มองค์กรเล็ก ๆ เพื่อช่วยเหลือชาวคริสเตียนที่ตกทุกข์ได้ยากเหล่านี้ และได้จัดให้มีการแต่งงานของคู่รักอย่างลับ ๆ ด้วย

และจากการกระทำเหล่านี้เอง ทำให้นักบุญวาเลนไทน์ถูกจับและถูกตัดสินประหารโดยการตัดศีรษะ ในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ประมาณปีคริสต์ศักราชที่ 270 ซึ่งถือเป็นวันที่ท่านได้ทนทุกข์ทรมานและเสียสละเพื่อเพื่อนมนุษย์

ศัพท์
Valentine วาเลนไทน์
love ความรัก
closely อย่างสนิท
largely โดยส่วนมาก
harbinger ผู้นำมา
spend ใช้(เวลา)
card บัตร
billion พันล้าน
worldwide ทั่วโลก
average ปานกลาง

แหล่งที่มา http://en.wikipedia.org/wiki/Valentine%27s_Day

วันพุธ, พฤศจิกายน 25, 2552

ความรู้สึกถึงคุณพ่อ


Dad.....
You turn me to where the sun rises.
So that I can behold my future.

You turn me to where the sun sets.
So that I can learn from the past.

You turn me in the sun.
So that I can be a part of the world's song of joy.

Happy Father's Day.

แปล

พ่อ.....
คุณหมุนตัวฉันในที่ซึ่งแสงอาทิตย์ขึ้นจากขอบฟ้า
ดังนั้นฉันจึงสามารถแลเห็นอนาคตของฉัน

คุณหมุนตัวฉันในที่ซึ่งมีแสงอาทิตย์สว่างขึ้น
ดังนั้นฉันจึงสามารถเรียนรู้จากสิ่งที่ผ่านมาแล้ว

คุณหมุนตัวฉันในแสงอาทิตย์
ดังนั้นฉันจึงสามารถเป็นส่วนหนึ่งจากเสียงเพลงของโลกแห่งความสุขสันต์

ขอให้พ่อมีความสุข

วันอังคาร, พฤศจิกายน 24, 2552

สงกรานต์ ฮาโลวีน ผีตาโขน




The Thai New Year (Thai: สงกรานต์ Songkran, from Sanskrit sankr?nthi "astrological passage"; Chinese: is celebrated every year from April 13 to April 15. It coincides with the New Year of many calendars of South and Southeast Asia.

The date of the festival was originally set by astrological calculation, but it is now fixed.[1] If these days fall on a weekend, the missed days off are taken on the weekdays immediately following. If they fall in the middle of the week, many Thai take off from the previous Friday until the following Monday. Songkran falls in the hottest time of the year in Thailand, at the end of the dry season. Until 1888 the Thai New Year was the beginning of the year in Thailand; thereafter 1 April was used until 1940. 1 January is now the beginning of the year. The traditional Thai New Year has been a national holiday since then.

แปล

ปฏิทินไทยในขณะนี้กำหนดให้เทศกาลสงกรานต์ตรงกับวันที่ 13-15 เมษายน ของทุกปี และเป็นวันหยุดราชการ อย่างไรก็ตาม ประกาศสงกรานต์อย่างเป็นทางการจะคำนวณตามหลักเกณฑ์ในคัมภีร์สุริยยาตร์ ซึ่งแต่โบราณมา กำหนดให้วันแรกของเทศกาล เป็นวันที่พระอาทิตย์ย้ายออกจากราศีมีนเข้าสู่ราศีเมษ เรียกว่า "วันมหาสงกรานต์" วันถัดมาเรียกว่า "วันเนา" และวันสุดท้าย เป็นวันเปลี่ยนจุลศักราชและเริ่มใช้กาลโยคประจำปีใหม่ เรียกว่า "วันเถลิงศก" จากหลักการข้างต้นนี้ ทำให้ปัจจุบันเทศกาลสงกรานต์มักตรงกับวันที่ 14-16 เมษายน (ยกเว้นบางปี เช่น พ.ศ. 2551 และ พ.ศ. 2555 ที่สงกรานต์กลับมาตรงกับวันที่ 13-15 เมษายน) ซึ่งบางปีก็อาจจะตรงกับวันใดวันหนึ่ง


แหล่งที่มา http://en.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B9%8C#In_other_calendars

ated on October 31. It has roots in the Celtic festival of Samhain and the Christian holy day of All Saints, but is today largely a secular celebration.
Halloween activities include trick-or-treating, wearing costumes and attending costume parties, carving jack-o'-lanterns, ghost tours, bonfires, visiting haunted attractions, pranks, telling scary stories, and watching horror films.

Historian Nicholas Rogers, exploring the origins of Halloween, notes that while "some folklorists have detected its origins in the Roman feast of Pomona, the goddess of fruits and seeds, or in the festival of the dead called Parentalia, [it is] more typically linked to the Celtic festival of Samhain or Samuin (pronounced sow-an or sow-in)".[1] The name is derived from Old Irish and means roughly "summer's end".[1] A similar festival was held by the ancient Britons and is known as Calan Gaeaf (pronounced K?lan G?i av).The festival of Samhain celebrates the end of the "lighter half" of the year and beginning of the "darker half", and is sometimes[2] regarded as the "Celtic New Year".[3]
The ancient Celts believed that the border between this world and the Otherworld became thin on Samhain, allowing spirits (both harmless and harmful) to pass through. The family's ancestors were honoured and invited home whilst harmful spirits were warded off. It is believed that the need to ward off harmful spirits led to the wearing of costumes and masks. Their purpose was to disguise oneself as a harmful spirit and thus avoid harm. In Scotland the spirits were impersonated by young men dressed in white with masked, veiled or blackened faces.[4][5] Samhain was also a time to take stock of food supplies and slaughter livestock for winter stores. Bonfires played a large part in the festivities. All other fires were doused and each home lit their hearth from the bonfire. The bones of slaughtered livestock were cast into its flames.[6] Sometimes two bonfires would be built side-by-side, and people and their livestock would walk between them as a cleansing ritual.
Another common practise was divination, which often involved the use of food and drink.
The name 'Halloween' and many of its present-day traditions derive from the Old English era.

แปล

วันฮาโลวีน (อังกฤษ: Halloween) เป็นงานฉลองในคืนวันที่ 31 ตุลาคม ประเทศทางตะวันตก เด็กๆ จะแต่งกายเป็นภูตผีปีศาจพากันชักชวนเพื่อนฝูงออกไปงานฉลอง มีการประดับประดาแสงไฟ และที่สำคัญคือแกะสลักฟักทองเป็นโคมไฟ เรียกว่า แจ๊ก-โอ'-แลนเทิร์น (jack-o'-lantern)
การฉลองวันฮาโลวีนนิยมจัดกันในสหรัฐอเมริกา ไอร์แลนด์ สหราชอาณาจักร แคนาดา และยังมีในออสเตรเลีย กับนิวซีแลนด์ด้วย รวมถึงประเทศอื่นในทวีปยุโรปก็นิยมจัดงานวันฮาโลวีนเพื่อความสนุกสนาน

วันที่ 31 ต.ค. เป็นวันที่ชาว เคลต์ (Celt) ซึ่งเป็นชนพื้นเมืองเผ่าหนึ่งในไอร์แลนด์ ถือกันว่า เป็นวันสิ้นสุดของฤดูร้อน และวันต่อมา คือ วันที่ 1 พ.ย. เป็นวันขึ้นปีใหม่ ซึ่งในวันที่ 31 ต.ค. นี่เองที่ชาวเคลต์เชื่อว่า เป็นวันที่มิติคนตาย และคนเป็นจะถูกเชื่อมโยงเข้าด้วยกัน และวิญญาณของผู้ที่เสียชีวิตในปีที่ผ่านมาจะเที่ยวหาร่างของคนเป็นเพื่อสิงสู่ เพื่อที่จะได้มีชีวิตขึ้นอีกครั้งหนึ่ง เดือดร้อนถึงคนเป็น ต้องหาทุกวิถีทางที่จะไม่ให้วิญญาณมาสิงสู่ร่างตน ชาวเคลต์จึงปิดไฟทุกดวงในบ้าน ให้อากาศหนาวเย็น และไม่เป็นที่พึงปรารถนาของบรรดาผีร้าย นอกจากนี้ยังพยายามแต่งกายให้แปลกประหลาด ปลอมตัวเป็นผีร้าย และส่งเสียงดังอึกทึก เพื่อให้ผีตัวจริงตกใจหนีหายสาบสูญไปบางตำนานยังเล่าถึงขนาดว่า มีการเผา "คนที่คิดว่าถูกผีร้ายสิง" เป็นการเชือดไก่ให้ผีกลัวอีกต่างหาก แต่นั่นเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตั้งแต่ก่อนคริสตกาล ที่ความคิดเรื่องผีสางยังฝังรากลึกในจิตใจมนุษย์ ต่อมาในศตวรรษแรกแห่งคริสตกาล ชาวโรมันรับประเพณีฮาโลวีนมาจากชาวเคลต์แต่ได้ตัดการเผาร่างคนที่ถูกผีสิงออก เปลี่ยนเป็นการเผาหุ่นแทน กาลเวลาผ่านไป ความเชื่อเรื่องผีจะสิงสูร่างมนุษย์เสื่อมถอยลงตามลำดับ ฮาโลวีนกลายเป็นเพียงพิธีการ การแต่งตัวเป็นผี แม่มด สัตว์ประหลาดตามแต่จะสร้างสรรค์กันไป ประเพณีฮาโลวีนเดินทางมาถึงอเมริกาในทศวรรษที่ 1840 โดยชาวไอริชที่อพยพมายังอเมริกา สำหรับประเพณี ทริกออร์ทรีต (Trick or Treat แปลว่า หลอกหรือเลี้ยง) นั้น เริ่มขึ้นในราวคริสต์ศตวรรษที่ 9 โดยชาวยุโรป ซึ่งถือว่า วันที่ 2 พ.ย. เป็นวัน 'All Souls' พวกเขาจะเดินร้องขอ 'ขนมสำหรับวิญญาณ' (soul cake) จากหมู่บ้านหนึ่งไปยังอีกหมู่บ้านหนึ่ง โดยเชื่อว่า ยิ่งให้ขนมเค้กมากเท่าไร วิญญาณของญาติผู้บริจาคก็ได้รับผลบุญ ทำให้มีโอกาสขึ้นสวรรค์ได้มากเท่านั้นส่วนตำนานที่เกี่ยวกับฟักทองนั้น เป็นตำนานพื้นบ้านของชาวไอริช ที่กล่าวถึง แจ๊คจอมตืด ซึ่งเป็นนักเล่นกลจอมขี้เมา วันหนึ่งเขาหลอกล่อปีศาจขึ้นไปบนต้นไม้ และเขียนกากบาทไว้ที่โคนต้นไม้ ทำให้ปีศาจลงมาไม่ได้ จากนั้นเขาได้ทำข้อตกลงกับปีศาจ 'ห้ามนำสิ่งไม่ดีมาหลอกล่อเขาอีก' แล้วเขาจะปล่อยปีศาจลงจากต้นไม้ เมื่อแจ็คตายลง เขาปฏิเสธที่จะขึ้นสวรรค์ ขณะเดียวกันปฏิเสธที่จะลงนรก ปีศาจจึงให้ถ่านที่กำลังคุแก่เขา เพื่อเอาไว้ปัดเป่าความหนาวเย็นท่ามกลางความมืดมิด และแจ็คได้นำถ่านนี้ใส่ไว้ในหัวผักกาดเทอนิพที่ถูกเจาะให้กลวง เพื่อให้ไฟลุกโชติช่วงได้นานขึ้น ชาวไอริชจึงแกะสลักหัวผักกาดเทอนิพ และใส่ไฟในด้านใน อันเป็นอีกสัญลักษณ์ของวันฮาโลวีน เพื่อระลึกถึง 'การหยุดยั้งความชั่ว' Trick or Treat เพื่อส่งผลบุญให้กับญาติผู้ล่วงลับ และพิธีทางศาสนาเพื่อทำบุญวันปีใหม่ แต่เมื่อมีการฉลองฮาโลวีนในสหรัฐอเมริกา ชาวอเมริกาพบว่า ฟักทองหาง่ายกว่าหัวผักกาดมาก จึงเปลี่ยนมาใช้ฟักทองแทน หัวผักกาดจึงกลายเป็นฟักทองด้วยเหตุผลฉะนี้
ประเพณีทริกออร์ทรีต ในสหรัฐอเมริกาคือการละเล่นอย่างหนึ่งที่เด็กๆ เฝ้ารอคอย ในวันฮาโลวีนตามบ้านเรือนจะตกแต่งด้วยโคมไฟฟักทองและตุ๊กตาหุ่นฟางที่เป็นส่วนหนึ่งของเทศกาลประเพณีเก็บเกี่ยว (Harvest) ในช่วงเดียวกันนั้น แต่ละบ้านจะเตรียมขนมหวานที่ทำเป็นรูปเม็ดข้าวโพดสีขาวเหลืองส้มในเม็ดเดียวกัน เรียกว่า Corn Candy และขนมอื่นๆไว้เตรียมคอยท่า ส่วนเด็กๆ ในละแวกบ้านก็จะแต่งตัวแฟนซีเป็นภูตผีมาเคาะตามประตูบ้าน โดยเน้นบ้านที่มีโคมไฟฟักทองประดับ (เพราะมีความหมายโดยนัยว่าต้อนรับพวกเขา) พร้อมกับถามว่า "Trick or treat?" เจ้าของบ้านมีสิทธิที่จะตอบ treat ด้วยการยอมแพ้ มอบขนมหวานให้ภูตผี(เด็ก)เหล่านั้น ราวกับว่าช่างน่ากลัวเหลือเกิน หรือเลือกตอบ trick เพื่อท้าทายให้ภูตผีเหล่านั้นอาละวาด ซึ่งก็อาจเป็นอะไรได้ ตั้งแต่แลบลิ้นปลิ้นตาหลอกหลอน ไปจนถึงขั้นทำลายข้าวของเล็กๆ น้อยๆ แล้วอาจจบลงด้วยการ treat เด็กๆ ด้วยขนมในที่สุด


แหล่งที่มา http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%AE%E0%B8%B2%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%B5%E0%B8%99


The Phi Ta Khon
(Ghost Festival)
Phi Ta Khon is a type of masked procession celebrated on the first day of a three-day Buddhist merit-making holiday known in Thai as “Boon Pra Wate”. The annual festival takes place in *May, June or July at a small town of Dan Sai in the northeastern province of Loei.

Participants of the festival dress up like ghosts and monsters wearing huge masks made from carved coconut-tree trunks, topped with a wicker-work sticky-rice steamer. The procession is marked by a lot of music and dancing.

The precise origin of the Phi Ta khon is unclear. However, it can be traced back to a traditional Buddhist folklore. In the Buddha’s next to last life, he was the beloved Prince Vessandorn. The prince was said to go on a long trip for such a long time that his subjects forgot him and even thought that he was already dead. When he suddenly returned, his people were over-joyed. They welcomed him back with a celebration so loud that it even awoke the dead who then joined in all the fun.

From that time onward the faithful came to commemorate the event with ceremonies, celebrations and the donning of ghostly spirit masks. The reasons behind all the events is probably due to the fact that it was held to evoke the annual rains from the heavens by farmers and to bless crops.

On the second day, the villagers dance their way to the temple and fire off the usual bamboo rockets to signal the end of the procession. The festival organisers also hold contests for the best masks, costumes and dancers, and brass plaques are awarded to the winners in each age group. The most popular is the dancing contest.

Then comes the last day of the event, the villagers then gather at the local temple, Wat Ponchai, to listen to the message of the thirteen sermons of the Lord Buddha recited by the local monks.

Then it is time for the revellers to put away their ghostly masks and costumes for another year. From now on, they must again return to the paddy fields to eke out their living through rice farming as their forefathers did.

ผีตาโขน
ผีตาโขนคือขบวนแห่ใส่หน้ากาก ซึ่งพิธีฉลองจัดขึ้นในวันแรกของพิธีทำบุญ 3 วัน เรียกว่า “บุญพระเวส” ในภาษาไทย เทศกาลประจำปีนี้จะมีขึ้นในเดือน *พฤษภาคม มิถุนายน หรือ กรกฎาคม ที่เมืองเล็กๆ แห่งหนึ่ง ชื่อด่านซ้าย ในจังหวัดเลยของภาคอีสาน

ผู้เข้าร่วมในพิธีนี้จะแต่งกายคล้ายผีและปีศาจใส่หน้ากากขนาดใหญ่ ทำจากต้นมะพร้าวแกะสลักและสวมศรีษะด้วยกระติ๊บข้าวเหนียว ในขบวนแห่จะประกอบไปด้วยการร้องรำทำเพลงอย่างสนุกสนาน

ต้นกำเนิดของพิธีผีตาโขนไม่ปรากฏเป็นที่แน่ชัด แต่ก็พอที่จะท้าวความไปยังตำนานทางพุทธศาสนาได้ว่า ในชาติก่อนหน้าที่จะถือกำเนิดมาเป็นพระพุทธเจ้า พระพุทธองค์ทรงถือกำเนิดเป็นเจ้าชาย ผู้เป็นที่รักยิ่งของทวยราษฎร์ ทรงพระนามว่า พระเวสสันดร กล่าวกันว่าพระองค์ทรงเสด็จออกนอกพระนครไปเป็นเวลานานเสียจนเหล่าพสกนิกรของพระองค์ลืมพระองค์ไปแล้ว และยังคิดว่าพระองค์ทรงสิ้นพระชนม์ไปเสียแล้วด้วยซ้ำไป แต่จู่ ๆ พระองค์ก็เสด็จกลับมา พสกนิกรของพระองค์ต่างปลื้ม ปีติยินดีเป็นอย่างยิ่ง จึงพร้อมใจกันเฉลิมฉลองการเสด็จกลับมาอย่างเอิกเกริกส่งเสียงดังกึกก้อง จนกระทั่งปลุกผู้ที่ตายไปแล้วให้มาเข้าร่วมสนุกสนานรื่นเริงไปด้วย

ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ผู้ที่เลื่อมใสศรัทธาต่างพากันมาร่วมระลึกนึกถึงเหตุการณ์นี้ด้วยการจัดพิธีต่าง ๆ การเฉลิมฉลองและการแต่งกายใส่หน้ากากคล้ายภูตผีปีศาจ แต่เหตุผลที่แท้จริง เบื้องหลังพิธีนี้ก็อาจจะเนื่องมาจากความจริงที่ว่าชาวนาต้องการกระตุ้นฝนให้ตกต้องตามฤดูกาล และเพื่อเป็นการให้ศีลให้พรแก่พืชผลอีกด้วย

ในวันที่ 2 ของงานบุญนี้ ชาวบ้านจะร้องรำทำเพลงไปตามทางสู่วัด แล้วจึงจุดบั้งไฟเพื่อส่งสัญญาณให้รู้ว่า ขบวนแห่ได้เสร็จสิ้นลงแล้ว นอกจากนี้ผู้ที่จัดงาน ก็ยังจัดให้มีการประกวดหน้ากากที่สวยงามที่สุด การแต่งกายและผู้ที่รำสวย แล้วยังมีการแจกโล่ห์ทองเหลืองแก่ผู้ชนะในแต่ละวัยอีกด้วย แต่สิ่งที่ชื่นชอบกันมากที่สุด ก็เห็นจะเป็นการแข่งขันเต้นรำ

และเมื่อวันสุดท้ายของงานบุญมาถึง ชาวบ้านก็จะไปรวมกันที่วัดโพนชัย เพื่อฟังพระธรรมเทศนา 13 กัณฑ์ แสดงโดยพระภิกษุวัดนั้น

และแล้ววันเวลาแห่งการถอดหน้ากากปีศาจและเครื่องแต่งกาย เพื่อสวมใส่ในปีต่อไปก็มาถึง นับจากนี้ไปพวกเขาต้องกลับไปสู่ท้องนาอีกครั้ง โดยการทำนาเพื่อหาเลี้ยงชีพ ตามอย่างบรรพบุรุษของตนที่สืบทอดกันมา


แหล่งที่มา: http://www.guidescenter.com/article_detail.php?article_id_show=12

วันพุธ, พฤศจิกายน 18, 2552

Halloween Day


Halloween (also spelled Hallowe'en) is an annual holiday celebrated on October 31. It has roots in the Celtic festival of Samhain and the Christian holy day of All Saints, but is today largely a secular celebration.
Halloween activities include trick-or-treating, wearing costumes and attending costume parties, carving jack-o'-lanterns, ghost tours, bonfires, visiting haunted attractions, pranks, telling scary stories, and watching horror films.

Historian Nicholas Rogers, exploring the origins of Halloween, notes that while "some folklorists have detected its origins in the Roman feast of Pomona, the goddess of fruits and seeds, or in the festival of the dead called Parentalia, [it is] more typically linked to the Celtic festival of Samhain or Samuin (pronounced sow-an or sow-in)".[1] The name is derived from Old Irish and means roughly "summer's end".[1] A similar festival was held by the ancient Britons and is known as Calan Gaeaf (pronounced Kálan Gái av).The festival of Samhain celebrates the end of the "lighter half" of the year and beginning of the "darker half", and is sometimes[2] regarded as the "Celtic New Year".[3]
The ancient Celts believed that the border between this world and the Otherworld became thin on Samhain, allowing spirits (both harmless and harmful) to pass through. The family's ancestors were honoured and invited home whilst harmful spirits were warded off. It is believed that the need to ward off harmful spirits led to the wearing of costumes and masks. Their purpose was to disguise oneself as a harmful spirit and thus avoid harm. In Scotland the spirits were impersonated by young men dressed in white with masked, veiled or blackened faces.[4][5] Samhain was also a time to take stock of food supplies and slaughter livestock for winter stores. Bonfires played a large part in the festivities. All other fires were doused and each home lit their hearth from the bonfire. The bones of slaughtered livestock were cast into its flames.[6] Sometimes two bonfires would be built side-by-side, and people and their livestock would walk between them as a cleansing ritual.
Another common practise was divination, which often involved the use of food and drink.
The name 'Halloween' and many of its present-day traditions derive from the Old English era.

แปล

วันฮาโลวีน (อังกฤษ: Halloween) เป็นงานฉลองในคืนวันที่ 31 ตุลาคม ประเทศทางตะวันตก เด็กๆ จะแต่งกายเป็นภูตผีปีศาจพากันชักชวนเพื่อนฝูงออกไปงานฉลอง มีการประดับประดาแสงไฟ และที่สำคัญคือแกะสลักฟักทองเป็นโคมไฟ เรียกว่า แจ๊ก-โอ'-แลนเทิร์น (jack-o'-lantern)
การฉลองวันฮาโลวีนนิยมจัดกันในสหรัฐอเมริกา ไอร์แลนด์ สหราชอาณาจักร แคนาดา และยังมีในออสเตรเลีย กับนิวซีแลนด์ด้วย รวมถึงประเทศอื่นในทวีปยุโรปก็นิยมจัดงานวันฮาโลวีนเพื่อความสนุกสนาน

วันที่ 31 ต.ค. เป็นวันที่ชาว เคลต์ (Celt) ซึ่งเป็นชนพื้นเมืองเผ่าหนึ่งในไอร์แลนด์ ถือกันว่า เป็นวันสิ้นสุดของฤดูร้อน และวันต่อมา คือ วันที่ 1 พ.ย. เป็นวันขึ้นปีใหม่ ซึ่งในวันที่ 31 ต.ค. นี่เองที่ชาวเคลต์เชื่อว่า เป็นวันที่มิติคนตาย และคนเป็นจะถูกเชื่อมโยงเข้าด้วยกัน และวิญญาณของผู้ที่เสียชีวิตในปีที่ผ่านมาจะเที่ยวหาร่างของคนเป็นเพื่อสิงสู่ เพื่อที่จะได้มีชีวิตขึ้นอีกครั้งหนึ่ง เดือดร้อนถึงคนเป็น ต้องหาทุกวิถีทางที่จะไม่ให้วิญญาณมาสิงสู่ร่างตน ชาวเคลต์จึงปิดไฟทุกดวงในบ้าน ให้อากาศหนาวเย็น และไม่เป็นที่พึงปรารถนาของบรรดาผีร้าย นอกจากนี้ยังพยายามแต่งกายให้แปลกประหลาด ปลอมตัวเป็นผีร้าย และส่งเสียงดังอึกทึก เพื่อให้ผีตัวจริงตกใจหนีหายสาบสูญไปบางตำนานยังเล่าถึงขนาดว่า มีการเผา "คนที่คิดว่าถูกผีร้ายสิง" เป็นการเชือดไก่ให้ผีกลัวอีกต่างหาก แต่นั่นเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตั้งแต่ก่อนคริสตกาล ที่ความคิดเรื่องผีสางยังฝังรากลึกในจิตใจมนุษย์ ต่อมาในศตวรรษแรกแห่งคริสตกาล ชาวโรมันรับประเพณีฮาโลวีนมาจากชาวเคลต์แต่ได้ตัดการเผาร่างคนที่ถูกผีสิงออก เปลี่ยนเป็นการเผาหุ่นแทน กาลเวลาผ่านไป ความเชื่อเรื่องผีจะสิงสูร่างมนุษย์เสื่อมถอยลงตามลำดับ ฮาโลวีนกลายเป็นเพียงพิธีการ การแต่งตัวเป็นผี แม่มด สัตว์ประหลาดตามแต่จะสร้างสรรค์กันไป ประเพณีฮาโลวีนเดินทางมาถึงอเมริกาในทศวรรษที่ 1840 โดยชาวไอริชที่อพยพมายังอเมริกา สำหรับประเพณี ทริกออร์ทรีต (Trick or Treat แปลว่า หลอกหรือเลี้ยง) นั้น เริ่มขึ้นในราวคริสต์ศตวรรษที่ 9 โดยชาวยุโรป ซึ่งถือว่า วันที่ 2 พ.ย. เป็นวัน 'All Souls' พวกเขาจะเดินร้องขอ 'ขนมสำหรับวิญญาณ' (soul cake) จากหมู่บ้านหนึ่งไปยังอีกหมู่บ้านหนึ่ง โดยเชื่อว่า ยิ่งให้ขนมเค้กมากเท่าไร วิญญาณของญาติผู้บริจาคก็ได้รับผลบุญ ทำให้มีโอกาสขึ้นสวรรค์ได้มากเท่านั้นส่วนตำนานที่เกี่ยวกับฟักทองนั้น เป็นตำนานพื้นบ้านของชาวไอริช ที่กล่าวถึง แจ๊คจอมตืด ซึ่งเป็นนักเล่นกลจอมขี้เมา วันหนึ่งเขาหลอกล่อปีศาจขึ้นไปบนต้นไม้ และเขียนกากบาทไว้ที่โคนต้นไม้ ทำให้ปีศาจลงมาไม่ได้ จากนั้นเขาได้ทำข้อตกลงกับปีศาจ 'ห้ามนำสิ่งไม่ดีมาหลอกล่อเขาอีก' แล้วเขาจะปล่อยปีศาจลงจากต้นไม้ เมื่อแจ็คตายลง เขาปฏิเสธที่จะขึ้นสวรรค์ ขณะเดียวกันปฏิเสธที่จะลงนรก ปีศาจจึงให้ถ่านที่กำลังคุแก่เขา เพื่อเอาไว้ปัดเป่าความหนาวเย็นท่ามกลางความมืดมิด และแจ็คได้นำถ่านนี้ใส่ไว้ในหัวผักกาดเทอนิพที่ถูกเจาะให้กลวง เพื่อให้ไฟลุกโชติช่วงได้นานขึ้น ชาวไอริชจึงแกะสลักหัวผักกาดเทอนิพ และใส่ไฟในด้านใน อันเป็นอีกสัญลักษณ์ของวันฮาโลวีน เพื่อระลึกถึง 'การหยุดยั้งความชั่ว' Trick or Treat เพื่อส่งผลบุญให้กับญาติผู้ล่วงลับ และพิธีทางศาสนาเพื่อทำบุญวันปีใหม่ แต่เมื่อมีการฉลองฮาโลวีนในสหรัฐอเมริกา ชาวอเมริกาพบว่า ฟักทองหาง่ายกว่าหัวผักกาดมาก จึงเปลี่ยนมาใช้ฟักทองแทน หัวผักกาดจึงกลายเป็นฟักทองด้วยเหตุผลฉะนี้
ประเพณีทริกออร์ทรีต ในสหรัฐอเมริกาคือการละเล่นอย่างหนึ่งที่เด็กๆ เฝ้ารอคอย ในวันฮาโลวีนตามบ้านเรือนจะตกแต่งด้วยโคมไฟฟักทองและตุ๊กตาหุ่นฟางที่เป็นส่วนหนึ่งของเทศกาลประเพณีเก็บเกี่ยว (Harvest) ในช่วงเดียวกันนั้น แต่ละบ้านจะเตรียมขนมหวานที่ทำเป็นรูปเม็ดข้าวโพดสีขาวเหลืองส้มในเม็ดเดียวกัน เรียกว่า Corn Candy และขนมอื่นๆไว้เตรียมคอยท่า ส่วนเด็กๆ ในละแวกบ้านก็จะแต่งตัวแฟนซีเป็นภูตผีมาเคาะตามประตูบ้าน โดยเน้นบ้านที่มีโคมไฟฟักทองประดับ (เพราะมีความหมายโดยนัยว่าต้อนรับพวกเขา) พร้อมกับถามว่า "Trick or treat?" เจ้าของบ้านมีสิทธิที่จะตอบ treat ด้วยการยอมแพ้ มอบขนมหวานให้ภูตผี(เด็ก)เหล่านั้น ราวกับว่าช่างน่ากลัวเหลือเกิน หรือเลือกตอบ trick เพื่อท้าทายให้ภูตผีเหล่านั้นอาละวาด ซึ่งก็อาจเป็นอะไรได้ ตั้งแต่แลบลิ้นปลิ้นตาหลอกหลอน ไปจนถึงขั้นทำลายข้าวของเล็กๆ น้อยๆ แล้วอาจจบลงด้วยการ treat เด็กๆ ด้วยขนมในที่สุด


แหล่งที่มา http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%AE%E0%B8%B2%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%B5%E0%B8%99

วันอังคาร, พฤศจิกายน 17, 2552

วันสงกรานต์


The Thai New Year (Thai: สงกรานต์ Songkran, from Sanskrit sankrānthi "astrological passage"; Chinese: is celebrated every year from April 13 to April 15. It coincides with the New Year of many calendars of South and Southeast Asia.

The date of the festival was originally set by astrological calculation, but it is now fixed.[1] If these days fall on a weekend, the missed days off are taken on the weekdays immediately following. If they fall in the middle of the week, many Thai take off from the previous Friday until the following Monday. Songkran falls in the hottest time of the year in Thailand, at the end of the dry season. Until 1888 the Thai New Year was the beginning of the year in Thailand; thereafter 1 April was used until 1940. 1 January is now the beginning of the year. The traditional Thai New Year has been a national holiday since then.

แปล

ปฏิทินไทยในขณะนี้กำหนดให้เทศกาลสงกรานต์ตรงกับวันที่ 13-15 เมษายน ของทุกปี และเป็นวันหยุดราชการ อย่างไรก็ตาม ประกาศสงกรานต์อย่างเป็นทางการจะคำนวณตามหลักเกณฑ์ในคัมภีร์สุริยยาตร์ ซึ่งแต่โบราณมา กำหนดให้วันแรกของเทศกาล เป็นวันที่พระอาทิตย์ย้ายออกจากราศีมีนเข้าสู่ราศีเมษ เรียกว่า "วันมหาสงกรานต์" วันถัดมาเรียกว่า "วันเนา" และวันสุดท้าย เป็นวันเปลี่ยนจุลศักราชและเริ่มใช้กาลโยคประจำปีใหม่ เรียกว่า "วันเถลิงศก" จากหลักการข้างต้นนี้ ทำให้ปัจจุบันเทศกาลสงกรานต์มักตรงกับวันที่ 14-16 เมษายน (ยกเว้นบางปี เช่น พ.ศ. 2551 และ พ.ศ. 2555 ที่สงกรานต์กลับมาตรงกับวันที่ 13-15 เมษายน) ซึ่งบางปีก็อาจจะตรงกับวันใดวันหนึ่ง


แหล่งที่มา http://en.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B9%8C#In_other_calendars

วันอังคาร, พฤศจิกายน 10, 2552

คริสต์มาส



For many centuries, Christian writers accepted that Christmas was the actual date on which Jesus was born.[8] However, in the early eighteenth century, scholars began proposing alternative explanations. Isaac Newton argued that the date of Christmas was selected to correspond with the winter solstice,[5] which in ancient times was marked on December 25.[9] In 1743, German Protestant Paul Ernst Jablonski argued Christmas was placed on December 25 to correspond with the Roman solar holiday Dies Natalis Solis Invicti and was therefore a "paganization" that debased the true church.[4] In 1889, Louis Duchesne suggested that the date of Christmas was calculated as nine months after the Annunciation (March 25), the traditional date of the Incarnation.[10]

แปล
คริสต์มาส เป็นคำทับศัพท์จากภาษาอังกฤษ (Christmas) ซึ่งมาจากคำภาษาอังกฤษโบราณว่า Christes Maesse แปลว่า "บูชามิสซาของพระคริสตเจ้า" คำว่า "Christes Maesse" พบครั้งแรกในเอกสารโบราณเป็นภาษาอังกฤษ (เขียนขึ้นในปี ค.ศ. 1038) และในปัจจุบันคำนี้ก็ได้เปลี่ยนมาเป็นคำว่า Christmas

ประวัติความเป็นมาของวันคริต์มาส ซึ่งเป็นวันประสูติของพระเยซูนั้น ตามหลักฐานในพระคัมภีร์บันทึกไว้ว่า พระเยซูเจ้าประสูติในรัชกาลของจักรพรรดิออกุสตุสแห่งจักรวรรดิโรมัน ซึ่งทรงสั่งให้จดทะเบียนสำมะโนครัวทั่วทั้งแผ่นดิน โดยคีรีนิอัส เจ้าเมืองซีเรีย ก็รับนโยบายไปปฏิบัติให้มีการจดทะเบียนสำมะโนครัวทั่วทั้งอาณาเขต แต่ในพระคัมภีร์ ไม่ได้ระบุว่า พระเยซูประสูติวันหรือเดือนอะไร ด้านนักประวัติศาสตร์วิเคราะห์ว่า เดิมทีวันที่ 25 ธันวาคม เป็นวันที่จักรพรรดิเอาเรเลียนกำหนดให้เป็นวันฉลองวันเกิดของสุริยเทพ

ตั้งแต่ปี ค.ศ. 274 ชาวโรมันซึ่งส่วนใหญ่นับถือเทพเจ้าฉลองวันนี้เสมือนว่า เป็นวันฉลองของพระจักรพรรดิไปในตัวด้วย เพราะจักรพรรดิก็เปรียบเสมือนดวงอาทิตย์ ที่ให้ความสว่างแก่ชีวิตมนุษย์ แต่ชาวคริสต์ที่อยู่ในจักรวรรดิโรมัน รวมถึงชาวโรมันที่เปลี่ยนไปนับถือคริสต์อึดอัดใจที่จะฉลองวันเกิดของสุริยเทพ จึงหันมาฉลองการบังเกิดของพระเยซูเจ้าแทน หลังจากที่ชาวคริสต์ถูกควบคุมเสรีภาพทางศาสนาตั้งแต่ปี ค.ศ. 64 - ค.ศ. 313 จนถึงวันที่ 25 ธันวาคม ปี ค.ศ. 330 ชาวคริสต์จึงเริ่มฉลองคริสต์มาสอย่างเป็นทางการและเปิดเผย

เพลง
(ใช้ทำนอง Jingle Bells)
Blood flows everywhere
in the place called battlefield,
but I do not care.
I just want to kill.
Sound of dying scream
is making me delighted.
What fun is it to kill and kill,
slaying all the night.

Kill,kill,kill
kill,kill,kill
Killing all the way.
O, what fun,I feel so high in the midst of bloody rain.
Kill,kill,kill
kill,kill,kill
Killing all the way.
O, what fun,I feel so high in the midst of bloody rain,Yeh!

With my killing skill,
you can't ever run or hide.
I'm shaking with thrill.
Now is time to die!
The weak is to perish.
The strong is to survive.
You son of bitches are to rest in pieces by this knive!

Kill,kill,kill
kill,kill,kill
Killing all the way.
O, what fun,I feel so high in the midst of bloody rain.
Kill,kill,kill
kill,kill,kill
Killing all the way.
O, what fun,I feel so high in the midst of bloody rain,Yeh!


มาเวอร์ชั่นไทยบ้าง (มาจากที่เดิมแหละ)

เลือดไหลนองทุกถิ่น
ในแดนดินสงคราม
แต่ข้าไม่ครั้นคร้าม
ให้แม่งตายตกตาม
เสียงร้องหวีดกรีดก่อน
ห่อนให้ชื่นใจตาม
สนุกอะไรอย่างนี้ละนี่
ฆ่าคนได้มันทั้งคืน

โอ ตายตายตาย
ตายตายตาย
ตายให้หมดเป็นทาง
โอ ช่างมันนักในอุราเวลาฝนตกสีแดง เฮ้
ตายตายตาย
ตายตายตาย
ตายให้หมดเป็นทาง
โอ ช่างมันนักในอุราเวลาฝนตกสีแดง

ด้วยทักษะที่มี
สูเจ้าหนีไม่ได้
สะใจจนตัวสั่น
ไม่ต้องหรอกเอ็งตาย!
พ่ายแพ้แน่ไอ้อ่อน
อยู่รอดคือผู้แกร่ง
ไอ้สัตว์ทั้งหลายพวกเอ็งจงตายให้เรียบให้ตายตายตาย

โอ ตายตายตาย
ตายตายตาย
ให้แม่งตายตกตาม
โอ ช่างมันนักในอุราเวลาฝนตกสีแดง เฮ้
ตายตายตาย
ตายตายตาย
ให้แม่งตายตกตาม
โอ ช่างมันนักในอุราเวลาฝนตกสีแดง

วันอังคาร, พฤศจิกายน 03, 2552

Loy Krathong


Loy Krathong


Fireworks and large rafts on the Chao Phraya River, Loy Krathong Festival of Light, Bangkok, November 2004

[1]
Loy Krathong is held on the full moon of the 12th month in the traditional Thai lunar calendar. In the western calendar this usually falls in November.
"Loi" means "to float". "Krathong" is a raft about a handspan in diameter traditionally made from a section of banana tree trunk (although modern-day versions use specially made bread 'flowers' and may use styrofoam), decorated with elaborately-folded banana leaves, flowers, candles, incense sticks etc. During the night of the full moon, many people will release a small raft like this on a river. Governmental offices, corporations and other organizations also build much bigger and more elaborate rafts, and these are often judged in contests. In addition, fireworks and beauty contests take place during the festival.

Letting a Khom Fai float in to the air at the Loi Kratong festival in Mae Jo

Thousands of Khom Fai in Mae Jo
The festival probably originated in India as a Hindu festival similar to Deepavali as thanksgiving to the deity of the Ganges with floating lanterns for giving life throughout the year. According to the writings of H.M. King Rama IV in 1863, the originally Brahmanical festival was adapted by Buddhists in Thailand as a ceremony to honour the original Buddha, Siddhartha Guatama. Apart from venerating the Buddha with light (the candle on the raft), the act of floating away the candle raft is symbolic of letting go of all one's grudges, anger and defilements, so that one can start life afresh on a better foot. People will also cut their fingernails and hair and add them to the raft as a symbol of letting go of the bad parts of oneself. Many Thai believe that floating a krathong will create good luck, and they do it to honor and thank the Goddess of Water, Phra Mae Khongkha (
พระแม่คงคา).
The beauty contests that accompany the festival are known as "Noppamas Queen Contests". According to legend, Noppamas was a consort of the Sukothai king Loethai (14th century) and she was the first to float decorated krathongs. The Loi Krathong festival is also associated with the start of vegetable carving.
The Thai tradition of Loy Kratong started off in Sukhothai, but is now celebrated throughout Thailand, with the festivities in Chiang Mai and Ayutthaya being particularly well known.
In Chiang Mai Loi Kratong is also known as "Yi Peng". Every year thousands of people assemble to float the banana-leaf krathong onto the waterways of the city, honouring the Goddess of Water. A multitude of Lanna-style sky lanterns (khom fai) are also launched into the air where they resemble large flocks of giant fluorescent jellyfish gracefully floating by through the skies. These are believed to help rid the locals of troubles and are also taken to decorate houses and streets.
Kelantan also has the same celebration, especially in the Tumpat area. The ministry in charge of tourism in Malaysia recognises it as an attraction for tourist. Many people visit the celebration each year.

แปล

ลอยกระทง

ลอยกระทง คือเมื่อวันที่ดวงจันทร์เต็มของเดือน 12 ในโบราณ ปฏิทินจันทรคติไทย. In the western calendar this usually falls in November. ในปฏิทินตะวันตกนี้มักจะอยู่ระหว่างเดือนพฤศจิกายน.
"Loi" means "to float". "Loi"
หมายถึง "การลอย". "Krathong" is a raft about a handspan in diameter traditionally made from a section of banana tree trunk (although modern-day versions use specially made bread 'flowers' and may use styrofoam ), decorated with elaborately-folded banana leaves, flowers, candles, incense sticks etc. During the night of the full moon, many people will release a small raft like this on a river. "Krathong" มีแพเกี่ยวกับ handspan ในเส้นผ่าศูนย์กลางทำตามธรรมเนียมจากส่วนของลำต้นต้น กล้วย (แม้ว่าสมัยรุ่นวันใช้ทำพิเศษดอกไม้ขนมปัง 'และอาจใช้ styrofoam) ตกแต่งด้วยประณีต-folded ใบกล้วย, ดอกไม้, เทียน , ธูป sticks ฯลฯในเวลากลางคืนของดวงจันทร์เต็มให้คนจำนวนมากจะปล่อยแพเล็กๆเช่นนี้ในแม่น้ำ. Governmental offices, corporations and other organizations also build much bigger and more elaborate rafts, and these are often judged in contests. สำนักงานรัฐบริษัทและองค์กรอื่นๆยังสร้างมากใหญ่และซับซ้อนมากขึ้น rafts และเหล่านี้มักจะตัดสินในการแข่งขัน. In addition, fireworks and beauty contests take place during the festival. นอกจากนี้ ดอกไม้ไฟ และ การแข่งขันความงาม เกิดขึ้นในช่วงเทศกาล.

Letting a Khom Fai float in to the air at the Loi Kratong festival in Mae Jo
ให้ Khom Fai ลอยในอากาศในเทศกาล Loi Kratong ในแม่ Jo

Thousands of Khom Fai in Mae Jo
นับพัน Khom Fai ในแม่ Jo
The festival probably originated in India as a Hindu festival similar to Deepavali as thanksgiving to the deity of the Ganges with floating lanterns for giving life throughout the year.
เทศกาลมาอาจอยู่ในอินเดียเป็นเทศกาลฮินดูคล้าย Deepavali ขอบใจที่เป็นเทพแห่งคงคากับ lanterns ลอยที่ให้ชีวิตตลอดทั้งปี. According to the writings of HM King Rama IV in 1863, the originally Brahmanical festival was adapted by Buddhists in Thailand as a ceremony to honour the original Buddha , Siddhartha Guatama. ตาม writings ของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราม ใน 1,863, เทศกาล Brahmanical เดิมถูกปรับโดยพุทธในประเทศไทยเป็นพิธีให้เกียรติต้นฉบับ พุทธ, Siddhartha Guatama. Apart from venerating the Buddha with light (the candle on the raft), the act of floating away the candle raft is symbolic of letting go of all one's grudges, anger and defilements, so that one can start life afresh on a better foot. นอกเหนือจาก venerating พระพุทธรูปไฟ (เทียนบนแพ) การกระทำของลอยอยู่แพเทียนเป็นสัญลักษณ์ของการให้ไปของ grudges หนึ่งของทุกอารมณ์และ defilements เพื่อให้คนสามารถเริ่มต้นชีวิต afresh เท้าดี. People will also cut their fingernails and hair and add them to the raft as a symbol of letting go of the bad parts of oneself. คนจะตัด fingernails และผมของพวกเขาและเพิ่มเข้าไปในแพเป็นสัญลักษณ์ของการให้ไปชิ้นส่วนไม่ดีของตัวเอง. Many Thai believe that floating a krathong will create good luck, and they do it to honor and thank the Goddess of Water, Phra Mae Khongkha (พระแม่คงคา). หลายไทยเชื่อว่าลอย krathong จะสร้างโชคดีและพวกเขาจะให้เกียรติและขอบคุณแม่คงคา, พระแม่ Khongkha (พระแม่คงคา).
The beauty contests that accompany the festival are known as "Noppamas Queen Contests".
ประกวดความงามที่มากับเทศกาลจะเรียกว่า "Noppamas Queen แข่งขัน". According to legend, Noppamas was a consort of the Sukothai king Loethai (14th century) and she was the first to float decorated krathongs. ตามตำนาน, Noppamas เป็นมเหสีของ กษัตริย์สุโขทัย Loethai (ศตวรรษที่ 14) และเธอแรก float krathongs ตกแต่ง. The Loi Krathong festival is also associated with the start of vegetable carving . เทศกาล Loi Krathong ยังมีการเชื่อมโยงกับการเริ่มต้นของ การแกะสลักผัก.
The Thai tradition of Loy Kratong started off in Sukhothai , but is now celebrated throughout Thailand, with the festivities in Chiang Mai and Ayutthaya being particularly well known.
ประเพณีไทย Loy Kratong เริ่มปิดใน สุโขทัย แต่ตอนนี้โด่งดังทั่วประเทศด้วย festivities ใน จังหวัดเชียงใหม่ และ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นที่รู้จักกันดีโดยเฉพาะ.
In Chiang Mai Loi Kratong is also known as "Yi Peng".
ใน เชียงใหม่ Loi Kratong เรียกอีกอย่างว่า "Yi Peng". Every year thousands of people assemble to float the banana-leaf krathong onto the waterways of the city, honouring the Goddess of Water. ทุกปีหลายพันคนชุมนุมให้ลอยกล้วย-krathong ใบยัง waterways ของเมืองเกียแม่คงคา. A multitude of Lanna -style sky lanterns ( khom fai ) are also launched into the air where they resemble large flocks of giant fluorescent jellyfish gracefully floating by through the skies. มากมายของ ล้าน นา-lanterns ฟ้า สไตล์ (fai khom) จะเปิดตัวอีกในอากาศที่พวกเขาคล้ายปศุสัตว์ขนาดใหญ่ของแมงกะพรุนเรืองยักษ์ตระการลอยโดยผ่านฟากฟ้า. These are believed to help rid the locals of troubles and are also taken to decorate houses and streets. เหล่านี้เชื่อว่าจะช่วยกำจัดท้องถิ่นของปัญหาและยังนำไปตกแต่งบ้านและถนน.
Kelantan also has the same celebration, especially in the Tumpat area. Kelantan
ยังมีฉลองกันโดยเฉพาะในพื้นที่ Tumpat. The ministry in charge of tourism in Malaysia recognises it as an attraction for tourist. กระทรวงการเรียกเก็บเงินของการท่องเที่ยวใน ประเทศมาเลเซีย ตระหนักถึงความเป็นสถานที่สำหรับการท่องเที่ยว. Many people visit the celebration each year. หลายคนไปฉลองแต่ละปี

คำศัพท์

1.float =ลอยตามน้ำ

2.charge=ค่าธรรมเนียม

3.celebrated=เลื่องลือ

4.Buddha=พระพุทธเจ้า

5.afresh =อีกครั้ง

6.accompany=เล่นดนตรีประกอบ

7.decorate =ประดับ

8.celebration= การฉลอง

9. first = ที่หนึ่ง

10.specially=อย่างเฉพาะเจาะจง

อ้างอิง

http://en.wikipedia.org/wiki/Loy_Krathong

วันพุธ, กันยายน 09, 2552


Orlando, Florida


Disney World

Disney World opened in 1971. Disneyland in California already existed at that time, but it had hardly any visitors from the eastern parts of the United States where 75 percent of the country's population live. So Walt Disney decided to build another park in Orlando, Florida with four theme parks:

  • The Magic Kingdom
  • EPCOT (Experimental Prototype Community of Tomorrow)
  • Disney-MGM Studios
  • Disneys Animal Kingdom
แปลไทย

โอเรนโด้, ฟอริด้า

โลก ดิชนี้

โลก ดิชนี้ที่ เปิดใน 1971 แดนเนรมิตรหรือสวนสนุกในแคลิฟอร์เนียมีอยู่แล้วตอนนั้น แต่มันได้แทบจะไม่มีผู้เยี่ยมชมใดๆจากส่วนทิศตะวันออกของสหรัฐ ที่ซึ่ง 75 เปอร์เซ็นของชีวิตประชากรประเทศ ดังนั้นช่วยให้ ดิชนี้ ที่ตัดสินใจเพื่อสร้างสวนสาธารณะอื่นๆใน โอเรนโด้, ฟอริด้า ด้วย4สวนสาธารณะใจความ
ราชอาณาจักรเวทมนต์
อีพีซีโอที ( ชมรมต้นแบบผู้เชี่ยวชาญของวันพรุ่งนี้ )
ดิชนี้-เอ็มจีเอ็ม สตูดิโอ
อาณาจักรสัตว์

ศัพท์
1. Disneyland(n.) - ดิชนี้แลนด์
2. Population(n.) - ประชากร
3. Magic(n.) - เวทมนต์
4. Prototype(n.) - สิ่งที่เป็นต้นแบบ
5. Kingdom(n.) - ราชอาณาจักร